ENUM เปน function function สําหรับ map E.164 number ใหเปน URI : Uniform Resource Identifier รองรับความหลากหลายของ address อุปกรณปลายทาง
Address: กลุ่มตัวอักษรประกอบดวยตัวเลขหรือสัญลักษณ เพื่อระบุ (identify) ปลายทางของการเชื่อมตอในโครงขาย และเพื่ิอการเลือกเสนทาง (routing)
ขั้นตอน:แปลง E.164 number ใหเปน ENUM domain name
เพื่อขอ/query ผานระบบ DNS
• E.164: +66-2104-4065
• Remove: 6621044065
• Reverse: 5604401266
• Insert: 5.6.0.4.4.0.1.2.6.6
• Append: 5.6.0.4.4.0.1.2.6.6.e164.TLD DNS
บันทึก mapping record เรียก Naming authority pointer record
Credit : http://numbering.nbtc.go.th/CAT+ENUM.pdf
Credit : http://www.telenum.com/resellers/telenum/materials/phnum-white-paper.pdf
Credit : http://acma.gov.au/webwr/_assets/main/lib310475/enum.pdf
----------------------------------------
ผลกระทบของ ENUM (E.164 Number Mapping) ตอการให้บริการโทรคมนาคม
บทนํา
ENUM หรือ E.164 Number Mapping นับวาเปนชื่อที่ไดรับการกลาวถึงกันมากในแวดวงโทรคมนาคมในชวงสองถึงสามป ที่ผานมา สาเหตุหนึ่งเปนเพราะการพัฒนาบริการโทรคมนาคมที่ เนนไปทางดาน convergence มากขึ้น โครงขายตางๆก็เริ่ม เปลี่ยนแปลงไปสูโครงขาย IP ซึ่งนับวาเปนจุดสําคัญที่ทําใหเกิด ENUM ขึ้นมา บทความนี้จะแนะนําใหรูจักกับแงมุมตางๆ ENUM และผลกระทบตอการใหบริการบริการโทรคมนาคม
ENUM เปนวิธีการแปลงเลขหมายโทรศัพทปกติตามมาตรฐาน ITU-T E.164 (คือเลขหมายโทรศัพทปกติที่รวม country code) เปน URI (Unified Resource Identifier) เชน จาก +6626932100 เปน sip:user@sipcarrier หรือ http://user.domain เปนตน โดย ENUM นั้นกําหนดข ึ้ นตามมาตรฐาน RFC 3761 ของ Internet Engineering Task Force (IETF) มีจุดประสงค เพ ื่อรวมโครงขาย PSTN กับ Internet เขาดวยกัน รายละเอียดเก ี่ ยวกับการแปลงแปลงเลขหมาย E.164 เปน URI แบบตางๆ ไดถูกกําหนดไวใน RFC เชนกัน ดังตัวอยางในตารางที่ 1
กลไกการทํางานของ ENUM ENUM ถูกกําหนดขึ้นมาใหใชโครงสรางของระบบ DNS (Domain Name Service) ที่ใชกันอยูอยางแพรหลายและเปนสวน สําคัญของ Internet อยูขณะนี้ หนาที่หลักของ DNS ก็คือการ map ระหวาง domain name กับ IP address อยางที่ทราบกันอยู กรณีสําหรับ ENUM ก็เปนเพียงการ map จากเลขหมาย E.164 เปน URI เทานั้น ขอมูลในระบบ DNS สําหรับการทํา ENUM นั้น จะใช record ประเภท NAPTR (Naming Authority Pointer) [RFC 3403] ตัวอยาง NAPTR record สําหรับ BIND จะมี ลักษณะดังนี้
ซึ่งเปนการ map เลขหมาย E.164 +17705551212 ไปเปน sip:information@pbx.example.com และ mailto:information@example.com สิ่งหนึ่งที่จะสังเกตไดจากตัวอยางนี้คือวิธีการเขียนเลขหมาย E.164 สําหรับการเก็บใน ระบบ DNS จะเห็นวาเลขหมาย E.164 นี้แตละหลักจะถูกเขียนคั่นดวยจุดกลับหนาเปนหลังและลงทายดวยชื่อ domain (root zone) e164.arpa. วิธีการนี้ถูกกําหนดไวใน RFC 3761 เชนกัน โดย Registrant ของ root zone “e164.arpa” คือ IAB (Internet Architecture Board) ซึ่ง subdomain ของ root zone นี้มีไดเพียงอยางเดียวคือ country code ของแตละประเทศเทานั้น และ สําหรับเหตุผลที่ใช DNS ในการพัฒนา ENUM นั้น (Richard Stastny, 2005) ก็เนื่องจากวา DNS เปนระบบที่มีอยูแลวใช งานไดดีขยายไดงายเช ื่ อถือไดเปนระบบเปดเชื่อมโยงกันอยูแลวทั่วโลกใครก็สามารถใชได
เนื่องจาก ENUM นี้ถูกกําหนดใหใชระบบ DNS เปนพื้นฐาน จึงไดความสามารถในการทําเปนระดับชั้นมาดวยดังรูปที่ 1 กลาวคือขอมูลในฐานขอมูล ENUM แตละที่ไมจําเปนทีจะตองมีขอมูล ENUM ของทุกประเทศ ทุกผูใหบริการเพราะวา สามารถ query เพื่อขอขอมูลไมทราบผาน server ที่สูงขึ้นไปอีกขั้นหนึ่งไดจนไปถึง root server ที่จะแจง IP address ของ server ของประเทศปลายทางใหจากนั้น server ที่ตนทางจะติดตอไปยัง server หลักของประเทศปลายจนถึง server ของผู ใหบริการในประเทศปลายทางเพื่อขอทราบขอมูลได
ตัวอยางเชน ผูใชบริการรายหนึ่งตองการติดตอไปยังเลขหมาย +15171234567 ซึ่งเปนเลขหมายของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยใชบริการจากผูใหบริการรายหนึ่งของไทย ENUM query ที่เกิดขึ้น ก็จะถูกสงตอไปเรื่อยๆ ผาน DNS server ของผูใหบริการผาน World Root Server ที่จะแจง IP address ของ server หลักของสหรัฐอเมริกากลับมา DNS server ที่ตนทางจะ ติดตอ server หลักของหลักอเมริกาโดยสิ่งที่ไดคือ IP address ของ DNS server ของผูใหบริการปลายทางจากนั้นจึงติดตอ อีกครั้งเพื่อขอขอมูล ซึ่งในที่สุดก็จะได URI ของเลขหมาย +15171234567 มาจํานวนครั้งของการติดตอจาก DNS server ที่ ตนทางไปยัง server ตางๆเพื่อขอขอมูลนั้น ขึ้นอยูกับวาขอมูลของปลายทางนั้นถูก delegate จากระดับประเทศลงไปมากแค ไหน ยิ่งถูก delegate ลงไปจํานวนมากชั้นแคไหน จํานวนครั้งที่ติดตอดวยก็จะมากขึ้นตาม
ความสําคัญของ ENUM ดวย ENUM นี้ทําใหการสรางบริการแบบ convergence ทําไดงายขึ้นนมากเนื่องจากเลขหมายโทรศัพทเลขหมายหนึ่งงไดถูก จับคูไวกับ URI ตางๆ ของเจาของเลขหมายโทรศัพทนั้น เชน หากเจาของเลขหมายไดจับคูเลขหมายโทรศัพทไวกับบริการ VOIP ที่ใช SIP และ Email account อีกหนึ่ง account เมื่อมีผูที่ตองการติดตอเลขหมายนี้โดยตองการที่จะคุยดวย หลังจากที่ไดสอบถามไปที่ ระบบ ENUM แลว (กระทําโดยอุปกรณสื่อสารโดยอัตโนมัติ) ก็จะทราบวาสามารถติดตอเลขหมายนี้ผานทาง VOIP และ email ไดซึ่งอุปกรณสื่อสารจะเลือกท ี่ จะติดตอดวย VOIP กอน แตเม ื่ อพบวาสายไมวางก็สามารถแจงให ผูเรียกทราบไดวายังไมสามารถติดตอไดและเสนอวาเปนทางเลือกวายังมี email ที่จะใชติดตอดวยไดแมวาผูเรียกจะไมเคย ทราบ email address ของผูที่ตองการจะคุยดวยมากอน
ที่กลาวมาขางตน เปนเพียงตัวอยางหนึ่งของการนํา ENUM ไปใชประโยชนเทานั้น ขอจํากัดของการนําไปใชนับไดวาขึ้นอยู กับจินตนาการของผูพัฒนาเพียงอยางเดียวเนื่องจากความงายของ ENUM ทําใหมีความยืดหยุนสูงในการพัฒนาบริการ ใหมๆออกมา
ผลกระทบของ ENUM ตอการใหบริการโทรคมนาคม ในความพยายามที่ จะศึกษาหาผลกระทบของ ENUM ตอการใหบริการโทรคมนาคม หลายประเทศ (ตารางที่ 2) ไดพัฒนา ระบบและทดลองการใชงาน ENUM แลว ทั้งนี้เพื่อที่จะไดทราบวาในการใชงานจริงจะมีปญหาอะไรบางและเปดใหผูให บริการโทรคมนาคมและผูผลิตอุปกรณโทรคมนาคมตางๆ ไดมีโอกาสพัฒนาและทดสอบบริการและอุปกรณตางๆที่จะนําออกมาใชงาน
ประเทศเว็บไซตสําหรับขอมูลเพิ่มเติม
สิงคโปร www.ida.gov.sg www.nic.net.sg
ไตหวัน service.enum.org.tw
สวีเดน enum.autonomica.se
สหราชอาณาจักร www.ukenumgroup.org
ออสเตรเลีย www.enum.com.au
เยอรมนี www.denic.de
ออสเตรีย enum.nic.at
ตารางที่ 2 ตัวอยางเพียงบางสวนของประเทศที่ไดเริ่มทดลองหรือใชงาน ENUM แลว
ซึ่งผลการทดลองใชงานตางก็ออกมาในทางเดียวกันวาระบบ ENUM นั้นสามารถใชงานไดเปนอยางดีแตสิ่งที่ จะทําใหการ ใหบริการในเชิงพาณิชยเกิดข ึ้นไดนั้น ยังมีอีกหลายเรื่องที่ จะตองดําเนินการกันตอไป ไมวาจะเปนดานอุปกรณตางๆทั้ง อุปกรณปลายทาง (SIP phone, IP phone) อุปกรณโครงขาย (Application server, Softswitch, SIP proxy) ที่จะตองมี แพรหลายมากเพียงพอและตอบสนองความตองการของผูใชบริการไดนโยบายการกํากับดูแลวาจะผลักดันการใหบริการ ENUM ของประเทศวาจะใหไปในแนวทางใดและจะเริ่มจากจุดไหนกอน
ในการนํา ENUM มาใชกับการใหบริการโทรคมนาคมโดยเฉพาะกับบริการ VOIP นั้น สิ่งจําเปนที่ จะตองมีคือ SIP URI ที่ สามารถติดตอไดจาก Internet ซึ่งเปนขอมูลที่ จะถูกเก็บไวในระบบ DNS เปนขอมูลที่ทุกคนสามารถเขาถึงไดอยางไรก็ตาม หาก SIP URI นี้สามารถติดตอไดผานทาง Internet โดยไมเสียคาใชจายคงจะไมมีผูใหบริการใดยินยอมที่จะใช ENUM แน สิ่งท ี่ จะเกิดขึ้นคือนาจะเกิดขอตกลง Peering connection ระหวางผูใหบริการดวยกัน ที่จะยอมใหผูใชบริการเฉพาะจากผูใหบริการที่มีขอตกลงกันติดตอกับผูใชบริการของตัวเองเทานั้น ทั้งนี้เพื่อสามารถเรียกเก็บคาใชบริการไดขอดีของการมี peering agreement คือผูใหบริการทั้งสองฝายสามารถกําหนดรูปแบบเฉพาะของการเชื่อมตอระหวางกันไดเชน กําหนด มาตรการรักษาความปลอดภัยกําหนดขนาด bandwidth และ QOS ของวงจรเชื่อมตอเปนตน ทําใหผูใชบริการมั่นใจไดวา จะไดรับบริการที่ดีกวาการใชบริการผาน Public internet โดยไมมีการควบคุมอะไรเลย
อยางไรก็ตาม ENUM นั้นถูกสรางขึ้นมาเพื่อใชกับบริการที่เปน end-to-end IP การใช ENUM ไดอยางมีประสิทธิผลที่สุดก็ จะตองใชกับบริการที่เปน IP ทั้งหมดที่ไมไดผานโครงขายแบบอื่นเลยแตก็เปนเรื่องที่ เปนไปไมไดในการใชงานจริง เพราะวาผูใชบริการในโครงขาย IP ก็ยังจําเปนที่จะตองติดตอกับผูใชบริการในโครงขายอื่นอยูดังนั้นการพัฒนาบริการที่ใช ENUM นั้น ในชวงแรกก็จะถูกจํากัดอยูในโครงขายแบบ IP เทานั้น การจะขยายขอบเขตออกไปสูโครงขาย PSTN หรือ PLMN นั้น คงจะตองรอไปจนกวาผูใหบริการจะ upgrade โครงขายเปนโครงขาย IP กอน (ดวย NGN หรือ IMS)
เพื่อใหผูใหบริการในประเทศไทยและผูพัฒนาบริการบนโครงขาย IP มีความเขาใจเกี่ ยวกับ ENUM ดีขึ้น ควรมีการทดลอง ใชงาน ENUM ในประเทศอยางเปนระบบ โดยมีกทช. เปนแกนนําในการทดลองนี้ที่เสนอใหกทช. เปนแกนนําก็เนื่องจาก กระบวนการในการขอ subdomain 6.6.e164.arpa (Country code ของไทยคือ 66) นั้น จําเปนที่จะตองยื่นขอกับ RIR (Regional Internet Registry) เชน APNIC, RIPE NCC, ARIN จากนั้น RIR จะสงตอคําขอเพื่อขออนุมัติจาก ITU-T TSB (Telecommunication Standardization Bureau) ซึ่ง TSB จะพิจารณาอนุมัติใหกับ authorized party หรือผูดูแลเลขหมาย โทรคมนาคมในแตละประเทศเทานั้น ดังนั้นสําหรับประเทศไทยผูที่จะยื่นขอ delegate domain ไดคือกทช.
สําหรับการทดลองขั้นแรกอาจจะใชเลขหมายกลุม 06-0xxx-xxxx ที่ตามประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม แหงชาติเร ื่องแผนเลขหมายโทรคมนาคมนั้น ไดกําหนดใหกลุมเลขหมายนี้ใชสําหรับโครงขายเทคโนโลยีใหมทําใหเริ่ม การทดลองไดโดยที่ไมตองเก ี่ ยวของกับเลขหมายกลุมอื่นๆ แตการเชื่อมตอโครงขาย IP ที่ใชเลขหมายกลุมนี้กับโครงขาย PSTN หรือ PLMN ยังคงตองดําเนินการผานการเชื่อมตอแบบ TDM อยูหากตองการใหมีการเรียกขามโครงขายกันได
ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการกํากับดูแล
เรื่องการจัดการระบบใหบริการ ENUM นั้น ถือเปนเรื่องการจัดการเลขหมายโทรคมนาคม ที่ตองมีการกํากับดูแลอยางเปน ระบบ เชนเดียวกันกับการจัดสรรเลขหมายโทรคมนาคมใหผูใหบริการหรือผูใชบริการดังนั้นรูปแบบของระบบ ENUM สําหรับประเทศไทยนั้น ควรจะมีลักษณะดังนี้
1. ใหมี server หลักของประเทศ ที่ดูแลโดยกทช.
2. สําหรับเลขหมายที่ กทช. ไดจัดสรรใหผูใหบริการนั้น ใหผูใหบริการแตละรายทําระบบเพื่อรองรับเลขหมายที่ได รับมา
3. สวนเลขหมายที่ กทช. ไดจัดสรรใหกับผูใชบริการโดยตรง เชน กลุมเลขหมาย 1xxx ใหมี Registrar อิสระเขามา จัดการ เพราะวาเลขหมายกลุมจะไมจําเปนจะตองอยูกับผูใหบริการรายใดรายหนึ่งไปตลอดเจาของเลขหมาย สามารถเปลี่ ยนผูใหบริการไดตลอดดังนั้นการใช Registrar อิสระที่ไมขึ้นกับผูใหบริการจะเปนทางออกที่เหมาะสมที่สุด
บทสรุป
แมวา ENUM นั้นถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่ออตอบสนองความตองการที่จะรวมโครงขาย PSTN ที่ใชเลขหมาย E.164 เขากับ internet เพื่อใชเปนพื้นฐานในการสรางบริการใหมๆ และจากผลการทดสอบตางๆ ไดสรุปแลววา ENUM สามารถใชงานไดจริงแต การทําใหเกิดการใชงาน ENUM อยางแพรหลายนั้นยังอยูในขั้นเริ่มตน มีปญหาอีกหลายเรื่องที่รอการแกไข เชน เรื่องความปลอดภัยของขอมูลผูใชบริการที่ตอง
อยูในระบบ DNS ที่ทุกคนสามารถเขามาดูไดตลอดเวลาการขาดรูปแบบบริการที่จะ เรงการนําระบบ ENUM มาใชงานจริงการสนับสนุนใหเกิดทางทดลองใชงานในประเทศไทยและมีรูปแบบการจัดการที่เหมาะสมนั้น จะเปนตัวแปรหนึ่งที่จะทําใหผูมีสวนเกี่ยวของทั้งหมดมีความเขาใจเกี่ยวกับ ENUM มากขึ้น ซึ่งจะนําไปสูการพัฒนาบริการรูปแบบใหมๆ สามารถตอบสนองความตองการและเพิ่มทางเลือกของผูใชบริการได้
Credit : http://trekkieland.info/wordpress/wp-content/uploads/2007/11/enum-article.pdf
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น