3.31.2558

ENUM

ENUM : Electronic Number Mapping

ENUM เปน function function สําหรับ map E.164 number ใหเปน URI : Uniform Resource Identifier รองรับความหลากหลายของ address อุปกรณปลายทาง

Address: กลุ่มตัวอักษรประกอบดวยตัวเลขหรือสัญลักษณ เพื่อระบุ (identify) ปลายทางของการเชื่อมตอในโครงขาย และเพื่ิอการเลือกเสนทาง (routing)

ขั้นตอน:แปลง E.164 number ใหเปน ENUM domain name
เพื่อขอ/query ผานระบบ DNS 
• E.164: +66-2104-4065 
• Remove: 6621044065 
• Reverse: 5604401266 
• Insert: 5.6.0.4.4.0.1.2.6.6 
• Append: 5.6.0.4.4.0.1.2.6.6.e164.TLD DNS

บันทึก mapping record เรียก Naming authority pointer record





Credit : http://numbering.nbtc.go.th/CAT+ENUM.pdf
Credit : http://www.telenum.com/resellers/telenum/materials/phnum-white-paper.pdf
Credit : http://acma.gov.au/webwr/_assets/main/lib310475/enum.pdf
----------------------------------------
ผลกระทบของ ENUM (E.164 Number Mapping) ตอการให้บริการโทรคมนาคม

บทนํา
ENUM หรือ E.164 Number Mapping นับวาเปนชื่อที่ไดรับการกลาวถึงกันมากในแวดวงโทรคมนาคมในชวงสองถึงสามป ที่ผานมา สาเหตุหนึ่งเปนเพราะการพัฒนาบริการโทรคมนาคมที่ เนนไปทางดาน convergence มากขึ้น โครงขายตางๆก็เริ่ม เปลี่ยนแปลงไปสูโครงขาย IP ซึ่งนับวาเปนจุดสําคัญที่ทําใหเกิด ENUM ขึ้นมา บทความนี้จะแนะนําใหรูจักกับแงมุมตางๆ ENUM และผลกระทบตอการใหบริการบริการโทรคมนาคม

ENUM เปนวิธีการแปลงเลขหมายโทรศัพทปกติตามมาตรฐาน ITU-T E.164 (คือเลขหมายโทรศัพทปกติที่รวม country code) เปน URI (Unified Resource Identifier) เชน จาก +6626932100 เปน sip:user@sipcarrier หรือ http://user.domain เปนตน โดย ENUM นั้นกําหนดข ึ้ นตามมาตรฐาน RFC 3761 ของ Internet Engineering Task Force (IETF) มีจุดประสงค เพ ื่อรวมโครงขาย PSTN กับ Internet เขาดวยกัน รายละเอียดเก ี่ ยวกับการแปลงแปลงเลขหมาย E.164 เปน URI แบบตางๆ ไดถูกกําหนดไวใน RFC เชนกัน ดังตัวอยางในตารางที่ 1  


กลไกการทํางานของ ENUM ENUM ถูกกําหนดขึ้นมาใหใชโครงสรางของระบบ DNS (Domain Name Service) ที่ใชกันอยูอยางแพรหลายและเปนสวน สําคัญของ Internet อยูขณะนี้ หนาที่หลักของ DNS ก็คือการ map ระหวาง domain name กับ IP address อยางที่ทราบกันอยู กรณีสําหรับ ENUM ก็เปนเพียงการ map จากเลขหมาย E.164 เปน URI เทานั้น ขอมูลในระบบ DNS สําหรับการทํา ENUM นั้น จะใช record ประเภท NAPTR (Naming Authority Pointer) [RFC 3403] ตัวอยาง NAPTR record สําหรับ BIND จะมี ลักษณะดังนี้


ซึ่งเปนการ map เลขหมาย E.164 +17705551212 ไปเปน sip:information@pbx.example.com และ mailto:information@example.com สิ่งหนึ่งที่จะสังเกตไดจากตัวอยางนี้คือวิธีการเขียนเลขหมาย E.164 สําหรับการเก็บใน ระบบ DNS จะเห็นวาเลขหมาย E.164 นี้แตละหลักจะถูกเขียนคั่นดวยจุดกลับหนาเปนหลังและลงทายดวยชื่อ domain (root zone) e164.arpa. วิธีการนี้ถูกกําหนดไวใน RFC 3761 เชนกัน โดย Registrant ของ root zone “e164.arpa” คือ IAB (Internet Architecture Board) ซึ่ง subdomain ของ root zone นี้มีไดเพียงอยางเดียวคือ country code ของแตละประเทศเทานั้น และ สําหรับเหตุผลที่ใช DNS ในการพัฒนา ENUM นั้น (Richard Stastny, 2005) ก็เนื่องจากวา DNS เปนระบบที่มีอยูแลวใช งานไดดีขยายไดงายเช ื่ อถือไดเปนระบบเปดเชื่อมโยงกันอยูแลวทั่วโลกใครก็สามารถใชได

เนื่องจาก ENUM นี้ถูกกําหนดใหใชระบบ DNS เปนพื้นฐาน จึงไดความสามารถในการทําเปนระดับชั้นมาดวยดังรูปที่ 1 กลาวคือขอมูลในฐานขอมูล ENUM แตละที่ไมจําเปนทีจะตองมีขอมูล ENUM ของทุกประเทศ ทุกผูใหบริการเพราะวา สามารถ query เพื่อขอขอมูลไมทราบผาน server ที่สูงขึ้นไปอีกขั้นหนึ่งไดจนไปถึง root server ที่จะแจง IP address ของ server ของประเทศปลายทางใหจากนั้น server ที่ตนทางจะติดตอไปยัง server หลักของประเทศปลายจนถึง server ของผู ใหบริการในประเทศปลายทางเพื่อขอทราบขอมูลได


ตัวอยางเชน ผูใชบริการรายหนึ่งตองการติดตอไปยังเลขหมาย +15171234567 ซึ่งเปนเลขหมายของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยใชบริการจากผูใหบริการรายหนึ่งของไทย ENUM query ที่เกิดขึ้น ก็จะถูกสงตอไปเรื่อยๆ ผาน DNS server ของผูใหบริการผาน World Root Server ที่จะแจง IP address ของ server หลักของสหรัฐอเมริกากลับมา DNS server ที่ตนทางจะ ติดตอ server หลักของหลักอเมริกาโดยสิ่งที่ไดคือ IP address ของ DNS server ของผูใหบริการปลายทางจากนั้นจึงติดตอ อีกครั้งเพื่อขอขอมูล ซึ่งในที่สุดก็จะได URI ของเลขหมาย +15171234567 มาจํานวนครั้งของการติดตอจาก DNS server ที่ ตนทางไปยัง server ตางๆเพื่อขอขอมูลนั้น ขึ้นอยูกับวาขอมูลของปลายทางนั้นถูก delegate จากระดับประเทศลงไปมากแค ไหน ยิ่งถูก delegate ลงไปจํานวนมากชั้นแคไหน จํานวนครั้งที่ติดตอดวยก็จะมากขึ้นตาม

ความสําคัญของ ENUM ดวย ENUM นี้ทําใหการสรางบริการแบบ convergence ทําไดงายขึ้นนมากเนื่องจากเลขหมายโทรศัพทเลขหมายหนึ่งงไดถูก จับคูไวกับ URI ตางๆ ของเจาของเลขหมายโทรศัพทนั้น เชน หากเจาของเลขหมายไดจับคูเลขหมายโทรศัพทไวกับบริการ VOIP ที่ใช SIP และ Email account อีกหนึ่ง account เมื่อมีผูที่ตองการติดตอเลขหมายนี้โดยตองการที่จะคุยดวย หลังจากที่ไดสอบถามไปที่ ระบบ ENUM แลว (กระทําโดยอุปกรณสื่อสารโดยอัตโนมัติ) ก็จะทราบวาสามารถติดตอเลขหมายนี้ผานทาง VOIP และ email ไดซึ่งอุปกรณสื่อสารจะเลือกท ี่ จะติดตอดวย VOIP กอน แตเม ื่ อพบวาสายไมวางก็สามารถแจงให ผูเรียกทราบไดวายังไมสามารถติดตอไดและเสนอวาเปนทางเลือกวายังมี email ที่จะใชติดตอดวยไดแมวาผูเรียกจะไมเคย ทราบ email address ของผูที่ตองการจะคุยดวยมากอน

ที่กลาวมาขางตน เปนเพียงตัวอยางหนึ่งของการนํา ENUM ไปใชประโยชนเทานั้น ขอจํากัดของการนําไปใชนับไดวาขึ้นอยู กับจินตนาการของผูพัฒนาเพียงอยางเดียวเนื่องจากความงายของ ENUM ทําใหมีความยืดหยุนสูงในการพัฒนาบริการ ใหมๆออกมา



ผลกระทบของ ENUM ตอการใหบริการโทรคมนาคม ในความพยายามที่ จะศึกษาหาผลกระทบของ ENUM ตอการใหบริการโทรคมนาคม หลายประเทศ (ตารางที่ 2) ไดพัฒนา ระบบและทดลองการใชงาน ENUM แลว ทั้งนี้เพื่อที่จะไดทราบวาในการใชงานจริงจะมีปญหาอะไรบางและเปดใหผูให บริการโทรคมนาคมและผูผลิตอุปกรณโทรคมนาคมตางๆ ไดมีโอกาสพัฒนาและทดสอบบริการและอุปกรณตางๆที่จะนําออกมาใชงาน

ประเทศเว็บไซตสําหรับขอมูลเพิ่มเติม
สิงคโปร www.ida.gov.sg www.nic.net.sg
ไตหวัน service.enum.org.tw
สวีเดน enum.autonomica.se
สหราชอาณาจักร www.ukenumgroup.org
ออสเตรเลีย www.enum.com.au
เยอรมนี www.denic.de
ออสเตรีย enum.nic.at
ตารางที่ 2 ตัวอยางเพียงบางสวนของประเทศที่ไดเริ่มทดลองหรือใชงาน ENUM แลว

ซึ่งผลการทดลองใชงานตางก็ออกมาในทางเดียวกันวาระบบ ENUM นั้นสามารถใชงานไดเปนอยางดีแตสิ่งที่ จะทําใหการ ใหบริการในเชิงพาณิชยเกิดข ึ้นไดนั้น ยังมีอีกหลายเรื่องที่ จะตองดําเนินการกันตอไป ไมวาจะเปนดานอุปกรณตางๆทั้ง อุปกรณปลายทาง (SIP phone, IP phone) อุปกรณโครงขาย (Application server, Softswitch, SIP proxy) ที่จะตองมี แพรหลายมากเพียงพอและตอบสนองความตองการของผูใชบริการไดนโยบายการกํากับดูแลวาจะผลักดันการใหบริการ ENUM ของประเทศวาจะใหไปในแนวทางใดและจะเริ่มจากจุดไหนกอน

ในการนํา ENUM มาใชกับการใหบริการโทรคมนาคมโดยเฉพาะกับบริการ VOIP นั้น สิ่งจําเปนที่ จะตองมีคือ SIP URI ที่ สามารถติดตอไดจาก Internet ซึ่งเปนขอมูลที่ จะถูกเก็บไวในระบบ DNS เปนขอมูลที่ทุกคนสามารถเขาถึงไดอยางไรก็ตาม หาก SIP URI นี้สามารถติดตอไดผานทาง Internet โดยไมเสียคาใชจายคงจะไมมีผูใหบริการใดยินยอมที่จะใช ENUM แน สิ่งท ี่ จะเกิดขึ้นคือนาจะเกิดขอตกลง Peering connection ระหวางผูใหบริการดวยกัน ที่จะยอมใหผูใชบริการเฉพาะจากผูใหบริการที่มีขอตกลงกันติดตอกับผูใชบริการของตัวเองเทานั้น ทั้งนี้เพื่อสามารถเรียกเก็บคาใชบริการไดขอดีของการมี peering agreement คือผูใหบริการทั้งสองฝายสามารถกําหนดรูปแบบเฉพาะของการเชื่อมตอระหวางกันไดเชน กําหนด มาตรการรักษาความปลอดภัยกําหนดขนาด bandwidth และ QOS ของวงจรเชื่อมตอเปนตน ทําใหผูใชบริการมั่นใจไดวา จะไดรับบริการที่ดีกวาการใชบริการผาน Public internet โดยไมมีการควบคุมอะไรเลย

อยางไรก็ตาม ENUM นั้นถูกสรางขึ้นมาเพื่อใชกับบริการที่เปน end-to-end IP การใช ENUM ไดอยางมีประสิทธิผลที่สุดก็ จะตองใชกับบริการที่เปน IP ทั้งหมดที่ไมไดผานโครงขายแบบอื่นเลยแตก็เปนเรื่องที่ เปนไปไมไดในการใชงานจริง เพราะวาผูใชบริการในโครงขาย IP ก็ยังจําเปนที่จะตองติดตอกับผูใชบริการในโครงขายอื่นอยูดังนั้นการพัฒนาบริการที่ใช ENUM นั้น ในชวงแรกก็จะถูกจํากัดอยูในโครงขายแบบ IP เทานั้น การจะขยายขอบเขตออกไปสูโครงขาย PSTN หรือ PLMN นั้น คงจะตองรอไปจนกวาผูใหบริการจะ upgrade โครงขายเปนโครงขาย IP กอน (ดวย NGN หรือ IMS)

เพื่อใหผูใหบริการในประเทศไทยและผูพัฒนาบริการบนโครงขาย IP มีความเขาใจเกี่ ยวกับ ENUM ดีขึ้น ควรมีการทดลอง ใชงาน ENUM ในประเทศอยางเปนระบบ โดยมีกทช. เปนแกนนําในการทดลองนี้ที่เสนอใหกทช. เปนแกนนําก็เนื่องจาก กระบวนการในการขอ subdomain 6.6.e164.arpa (Country code ของไทยคือ 66) นั้น จําเปนที่จะตองยื่นขอกับ RIR (Regional Internet Registry) เชน APNIC, RIPE NCC, ARIN จากนั้น RIR จะสงตอคําขอเพื่อขออนุมัติจาก ITU-T TSB (Telecommunication Standardization Bureau) ซึ่ง TSB จะพิจารณาอนุมัติใหกับ authorized party หรือผูดูแลเลขหมาย โทรคมนาคมในแตละประเทศเทานั้น ดังนั้นสําหรับประเทศไทยผูที่จะยื่นขอ delegate domain ไดคือกทช.

สําหรับการทดลองขั้นแรกอาจจะใชเลขหมายกลุม 06-0xxx-xxxx ที่ตามประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม แหงชาติเร ื่องแผนเลขหมายโทรคมนาคมนั้น ไดกําหนดใหกลุมเลขหมายนี้ใชสําหรับโครงขายเทคโนโลยีใหมทําใหเริ่ม การทดลองไดโดยที่ไมตองเก ี่ ยวของกับเลขหมายกลุมอื่นๆ แตการเชื่อมตอโครงขาย IP ที่ใชเลขหมายกลุมนี้กับโครงขาย PSTN หรือ PLMN ยังคงตองดําเนินการผานการเชื่อมตอแบบ TDM อยูหากตองการใหมีการเรียกขามโครงขายกันได

ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการกํากับดูแล

เรื่องการจัดการระบบใหบริการ ENUM นั้น ถือเปนเรื่องการจัดการเลขหมายโทรคมนาคม ที่ตองมีการกํากับดูแลอยางเปน ระบบ เชนเดียวกันกับการจัดสรรเลขหมายโทรคมนาคมใหผูใหบริการหรือผูใชบริการดังนั้นรูปแบบของระบบ ENUM สําหรับประเทศไทยนั้น ควรจะมีลักษณะดังนี้

1. ใหมี server หลักของประเทศ ที่ดูแลโดยกทช.
2. สําหรับเลขหมายที่ กทช. ไดจัดสรรใหผูใหบริการนั้น ใหผูใหบริการแตละรายทําระบบเพื่อรองรับเลขหมายที่ได รับมา
3. สวนเลขหมายที่ กทช. ไดจัดสรรใหกับผูใชบริการโดยตรง เชน กลุมเลขหมาย 1xxx ใหมี Registrar อิสระเขามา จัดการ เพราะวาเลขหมายกลุมจะไมจําเปนจะตองอยูกับผูใหบริการรายใดรายหนึ่งไปตลอดเจาของเลขหมาย สามารถเปลี่ ยนผูใหบริการไดตลอดดังนั้นการใช Registrar อิสระที่ไมขึ้นกับผูใหบริการจะเปนทางออกที่เหมาะสมที่สุด


บทสรุป
แมวา ENUM นั้นถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่ออตอบสนองความตองการที่จะรวมโครงขาย PSTN ที่ใชเลขหมาย E.164 เขากับ internet เพื่อใชเปนพื้นฐานในการสรางบริการใหมๆ และจากผลการทดสอบตางๆ ไดสรุปแลววา ENUM สามารถใชงานไดจริงแต การทําใหเกิดการใชงาน ENUM อยางแพรหลายนั้นยังอยูในขั้นเริ่มตน มีปญหาอีกหลายเรื่องที่รอการแกไข เชน เรื่องความปลอดภัยของขอมูลผูใชบริการที่ตอง
อยูในระบบ DNS ที่ทุกคนสามารถเขามาดูไดตลอดเวลาการขาดรูปแบบบริการที่จะ เรงการนําระบบ ENUM มาใชงานจริงการสนับสนุนใหเกิดทางทดลองใชงานในประเทศไทยและมีรูปแบบการจัดการที่เหมาะสมนั้น จะเปนตัวแปรหนึ่งที่จะทําใหผูมีสวนเกี่ยวของทั้งหมดมีความเขาใจเกี่ยวกับ ENUM มากขึ้น ซึ่งจะนําไปสูการพัฒนาบริการรูปแบบใหมๆ สามารถตอบสนองความตองการและเพิ่มทางเลือกของผูใชบริการได้

Credit : http://trekkieland.info/wordpress/wp-content/uploads/2007/11/enum-article.pdf

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น